ประวัติส่วนตัว
วันอังคารที่ 8 มกราคม พ.ศ. 2556
รหัสควบคุมในภาษา C
รหัสควบคุมในภาษา C
|
(Reserved Word)
คำสงวน
(Reserved Word)
เป็นคำเฉพาะที่ภาษาปาสคาลได้สร้างหรือกำหนดขึ้นมา เพื่อใช้ในตัวภาษาโดยเฉพาะ ซึ่งผู้เขียนโปรแกรมไม่สามารถนำไปใช้เป็นชื่อ (Indentifiers) ได้เช่น ไม่สามาถนำไปใช้เป็นดตัวแปร (Variables) หรือชื่อโปรแกรมได้ เป็นต้น
ในภาษาปาสคาล
ถ้าเป็นคำสงวน (Reserved Word) มักนิยมเขียนด้วยตัวอักษรตัวใหญ่
เพื่อให้มีความแตกต่างเป็นคำเฉพาะที่ภาษาปาสคาลได้สร้างหรือกำหนดขึ้นมา เพื่อใช้ในตัวภาษาโดยเฉพาะ ซึ่งผู้เขียนโปรแกรมไม่สามารถนำไปใช้เป็นชื่อ (Indentifiers) ได้เช่น ไม่สามาถนำไปใช้เป็นดตัวแปร (Variables) หรือชื่อโปรแกรมได้ เป็นต้น
จากชื่อ (Indentifiers) ตัวอื่น ๆ (แต่การเขียนด้วยตัวเล็กก็สามารถเขียนได้โดยไม่ถือว่าผิดกฏเกณฑ์)
ตัวอย่างของคำสงวน เช่น
AND END NIL SET ARRAY FILE NOT THEN
BEGIN FOR OF TO CASE FUNCTION OR TYPE
CONST GOTO PACKED UNTIL DIV IF PROCEDURE VAR
DO IN PROGRAM WHILE DOWNTO LABEL RECORD
WITH ELSE MOD REPEAT
Flowchart
Flowchart
เริ่มต้นจาก Flowchart คือ อะไร flow chart หรือภาษาไทย เค้าเรียกว่า
ผังงาน ก็คือเครื่องมือที่ช่วยในการออกแบบ การทำงานของระบบใดที่เราต้องการ
โดยตัว flowchart
เองเป็นสัญลักษณ์ที่คนอ่านนั้นสามารถเข้าใจได้ง่ายและรวดเร็ว -ฝั่ง
wikipedia บอกว่า เป็นรูปสัญลักษณ์
ที่บ่งบอกถึงขั้นตอนการดำเนินงานในแต่ละขั้น ซึ่งมีอยู่ทั้งหมด 7 รูปแบบทำไมจึงต้องเขียน flowchart สำหรับคำถามนี้ ได้คำตอบว่า
-ช่วยลำดับขั้นตอนการทำงานของโปรแกรม และสามารถนำไปเขียนโปรแกรมได้โดยไม่สับสน
-ช่วยในการตรวจสอบ และแก้ไขโปรแกรมได้ง่าย เมื่อเกิดข้อผิดพลาด
-ช่วยให้การดัดแปลง แก้ไข ทำได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว
-ช่วยให้ผู้อื่นสามารถศึกษาการทำงานของโปรแกรมได้อย่างง่าย และรวดเร็วมากขึ้น
สัญลักษณ์ที่เป็นมาตรฐาน ซึ่งจะบ่งบอกถึงหน้าที่ในแต่ละช่วงการทำงานนะครับ
สัญลักษณ์ | หน้าที่/ความหมาย |
---|---|
![]() |
จุดเริ่มต้น และจุด สิ้นสุดของโปรแกรม (เป็นสิ่งแรกและสิ่งสุดท้ายที่จะต้องวาดในการเขียน flow chart) |
![]() |
เส้นทางการไหลของโปรแกรม เพื่อช่วยในการเชื่อมแต่ละขั้นของโปรแกรม |
![]() |
การประมวลผล การทำงาน การคิดคำนวน |
![]() |
รับข้อมูล/ส่งออกข้อมูล เช่นรับข้อมูลจากผู้ใช้ หรือแสดงผลค่าตัวแปร |
![]() |
เงื่อนไข เป็นจุดที่มีเงื่อนไขให้เลือกทำ หรือเช็คค่าตามเงื่อนไข |
![]() |
เอกสาร การแสดงผลออกทางเอกสาร |
![]() |
จุดเชื่อมต่อ คือจุดรวมจากหลายเส้นทางของโปรแกรมเข้ามาเส้นทางเดียวในกรณีที่ขั้นตอนต่อไปจะทำงานเหมือนกัน |
![]() |
ขึ้นหน้าถัดไป ในกรณีที่เขียนหน้าเดียวไม่เพียงพอ |
![]() |
เก็บข้อมูล เช่นบันทึกข้อมูลลงสื่อบันทึก |
![]() |
disk magnetic คือสื่อบันทึกข้อมูล เช่น Harddisk |
ซึ่ง flowchart นี้สามารถประยุกต์ในการเขียนเว็บได้ด้วยเหมือนกันนะครับ เพราะการเขียนเว็บก็เป็นการเขียนโปรแกรมอย่างนึงเหมือนกัน
ตัวอย่างเช่น ส่วนการสมัครสมาชิกของเว็บ จะเขียนออกมาเป็น flowchart ได้ดังนี้ครับ

ประวัติภาษาซี
ประวัติภาษาซี
ประวัติภาษาซี
ภาษาซี (C) เป็นภาษาโปรแกรมบนคอมพิวเตอร์ที่มีวัตถุประสงค์ทั่วไป พัฒนาขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2515(ค.ศ. 1972) โดย เดนนิส ริตชี ที่เบลล์เทเลโฟนแลบอลาทอรีส์ (Bell Telephone Laboratories) เกิด
ขึ้นเพื่อสร้างระบบปฏิบัติการยูนิกซ์ในขณะนั้น
นอกจากภาษาซีออกแบบขึ้นมาเพื่อสร้างซอฟต์แวร์ระบบแล้วภาษาซียังสามารถใช้อย่างแพร่หลายเพื่อ
พัฒนาซอฟต์แวร์ประยุกต์ที่เคลื่อนย้าย (portable) ไปบนระบบอื่นได้อีกด้วย
ภาษาซีเป็นภาษาโปรแกรมหนึ่งที่ได้รับความนิยมมากที่สุดตลอดกาล มีสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์
เพียงส่วนน้อยเท่านั้นที่ไม่มีตัวแปลโปรแกรมของภาษาซี ภาษาซีมีอิทธิพลอย่างมากต่อภาษา
โปรแกรมที่นิยมอื่น ๆ ที่เด่นชัดที่สุดก็คือภาษาซีพลัสพลัส ซึ่งเดิมเป็นส่วนขยายของภาษาซี
Algorithm ทอดไข่ Algorithm ซักผ้า
Algorithm ทอดไข่ Algorithm ซักผ้า
Algorithm ทอดไข่
วัตถุดิบ ไข่ไก่
ผลลัพธ์ ไข้ทอดสุก
-ใส่น้ำมันลงกระทะ
-รอให้ร้อนได้ที่
-ตอกไข่ใส่ถ้วย
-ตีไข่ด้วยด้วยมีด
-ใส่ไข่ที่ตีแล้วลงไปในกระทะ
-รอ5นาที
-ดับไฟ
-หยุด
Algorithm ซักผ้า
วัตถุดิบ ผ้า
ผลลัพธ์ ผ้าสะอาด
-ใส่น้ำลงในกะละมัง
-ใส่ผงซักฟอก
-ตีน้ำ5-6ทีด้วยมือขวา
-ใส่ผ้าลงไป
-แช่ผ้า
-รอ5นาที
-ใช้มือขยี้ผ้า
-ล้างน้ำเปล่า
-บิดน้ำออกด้วยมือ2ข้าง
-หยุด
ประวัติส่วนตัว
ประวัติส่วนตัว
ชื่อ นายไกรพล กล่อมจิตต์ ห้อง 5/8 เลขที่ 16
ชื่อเล่น EaRth อายุ 17 ปี เกิด 19/10/1995
ที่อยู่ 210 ชวนชื่นนีโอเฮ้า เขต คันนายาว แขวง รามอินทรา ถนน รามอินทรา
กรุงเทพ 10230
ชอบเรียนวิชา ชีวะ
ชอบกิน ข้าวผัดกุ้งไม่ใส่ผัก
ชอบสี เทา/ดำ/ฟ้า/เขียว
ชอบเล่นกีฬา กีฑา
เวลาว่าง ชอบนอนดู tv
ความภาคภูมิใจ int 29
คติประจำใจ อย่าอ้อนขอ จงไขว่คว้ามา ไม่งั้นก็ไม่มีทางสำเ
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)